1. ต้องรู้ก่อนว่าต าแหน่งที่เราจะท าการติดตั้งจาน อยู่ ณ ต าแหน่ง Latitude (Lat.)และ Longitude (Long.) ที่เท่าไรเพื่อจะหาค่ามุมกวาด (Azimuth: AZ ) และมุมเงย (Elevation: EL) ในการติดตั้งจานเพื่อรับ สัญญาณจากดาวเทียมไทยคม5
2. เมื่อทราบสามารถหาต าแหน่ง Latitude และ Longitude แล้วสามารถหาค่าค่ามุมกวาด (AZ ) และมุมเงย (EL)ได้จาก Website: http://tcns.thaicom.net/AZEL.asp โดยใส่ค่า Lat. และ Long. และ เลือกดาวเทียม ไทยคม 5 แล้วกด Calculate
3. หากไม่ทราบต าแหน่ง Latitude และ Longitude ของสถานที่ติดตั้งจาน สามารถใช้ค่า Latitude และ Longitude ของจังหวัดที่ติดตั้งแทน ในWebsite: http://tcns.thaicom.net/AZEL.aspและและและ เลือก ดาวเทียมไทยคม 5 แล้วกด Calculate จะได้ค่ามุมกวาด (AZ ) และมุมเงย(EL)
การคำนวนเพื่อที่จะหามุม Azimuth (มุมกวาด) และมุม Elevation(มุมเงย)ไว้ใช้ในการ Point จาน สามารถใช้สูตรค านวน ดังนี้ สูตรการค านวนหามุม Azimuth (AZ) AZ = tan-1 θ = Latitude ของที่จะติดตั้งจาน Φ = Longitude (ดาวเทียม) – Longitude (ที่ติดตั้งจาน) สูตรการค านวนหามุม Elevation (EL) EL = tan-1 θ = Latitude ของที่จะติดตั้งจาน Φ = Longitude (ดาวเทียม) – Longitude (ที่ติดตั้งจาน) R = รัศมีโลก (มีค่าเท่ากับ 6,370 Km.) H = ระยะระหว่างดาวเทียมกับพื้นโลก (35,680 Km.)
4. ส ารวจทิศทางมุม(ที่ได้จากการค านวนจากข้อที่ 2 หรือ 3 ที่จะหันหน้าจานไปรับสัญญาณจากดาวเทียม
5. เมื่อได้ต าแหน่งติดตั้งจานที่ไม่มีสิ่งบดบังแล้ว ก็เริ่มท าการติดตั้งเสาโดยต้องติดตั้งให้ท ามุม90 องศา ทั้ง 4ด้าน หากไม่ได้90 องศา ให้ใช้แหวนรองน็อต รองใต้แป้นเหล็กเพื่อปรับองศาของผนังยึด 6. ติดตั้งจานเข้ากับเสาโดยหันหน้าจานไปทางทิศทางที่ได้ท าการค านวน (คือมุมกวาด (AZ ) และมุมเงย (EL)) ไว้ในข้อที่ 2 หรือ 3 ซึ่งการติดตั้งในประเทศไทยนั้นหากรับสัญญาณจากดาวเทียมไทยคม5 เรา สามารถปรับจานรับสัญญาณจากดาวเทียมให้มีมุมกวาด (AZ) ประมาณเท่ากับ 240 องศา และมี มุมเงย (EL) ประมาณ 60 องศาโดยประมาณใแล้วค่อยมาท าการปรับแต่งละเอียดอีกครั้งภายหลังเพื่อรับ สัญญาณได้แรงมากที่สุด
การติดตั้งจานดาวเทียม THAICOM 5 ระบบ C-Band
1.หน้าจานรับสัญญาณดาวเทียมท าหน้าที่สะท้อนสัญญาณไปยังจุดโฟกัส การรับสัญญาณจากดาวเทียม
2.ที่จุดโฟกัสจะมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า LNB ท าหน้าที่รับสัญญาณที่สะท้อนจากจาน ดาวเทียมและเปลี่ยนความถี่ให้เป็ นย่านความถี่ต ่า (950 MHz – 2150 MHz) เพื่อ สามารถให้ส่งผ่านสายสัญญาณไปยังเครื่องรับได้
3.เครื่องรับสัญญาณ (Receiver) ท าหน้าที่แปลงสัญญาณดาวเทียมที่ได้เป็ นภาพและเสียง ไปยังจอภาพ (ทีวี)
การสำรวจพื้นที่ติดตั้งจานดาวเทียม
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEi7yNhOjo-N2LqkbsHOd1i6EbxV5fbJ97jw36PGHC-gieqmdXZh7J81OQI8D9nDP-lWtFep1M0pL0zNgwulgL4UPNL1f4s-mjQFoLkJZ5Sgi3MneJdBsPzkTNTKHmIhkE7NqmWhxt86ARY/s640/house001.jpg)
การติดตั้งจานดาวเทียมเพื่อรับสัญญาณจากดาวเทียมไทยคม 5 หน้าจานจะหันไป ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ (ประมาณ 240 องศา) ดังนั้นก่อนการติดตั้งควรส ารวจพื้นที่ ที่ท าการติดตั้งก่อนว่ามีสิ่งกีดขวางทิศทางการรับสัญญาณหรือไม่
การติดตั้งจานดาวเทียม
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiH4IJBa2F6c9GWFl8XW8ABkPHFlk4j7RKFp1BX1oMN_s1cTfo5CwVVqEroRJThh3F4uewZ16tjBvScUHYWP0ibCcIN9ZhFceirvwutXrkSAABxXPTgSHLJ88kka1QAxgGqo6lJX9izgPw/s200/SF3MUDI7DS69ZNO.jpg)
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEjEZqqlrEYUn3ZCDMA1KBl9kaijKAKEeKwI9cGn4Bg7ghSenAFcjgp7kCiDIzH7BbOjTYlwaIqNC_woPKZhTIbZp1ft56vsxygsB7pyJHdlqEAfJb8w3rJZRYqpoVHhKy9a9p9cXFaiSl4/s200/3.jpg)
3.น าชุดจานที่ได้สวมเข้าเสาตั้งจาน (โดยเสาตั้งจานควรได้ฉาก 90 องศา)
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEj01jEu8VZQmm4_qlRGjCa6vYWEMLjHk1b1S5Bqx5rXPVUbKYWLnzsNbliLfffzgiKTVsBKRnVWiwNh3zytNmyieqQXtcVhPltt8R9kmv5Vm4GmX98-q1H4XZlptd6I8fDzpWgCu9X4lFA/s320/s8.jpg)
4.ท าการประกอบชุดขาจับ LNB กับแผ่นสกาล่าริง เข้าด้วยกัน
5.นำชุดขาจับ LNB ประกอบเข้ากับใบจาน ( ประกอบเป็ นร ู ปกากบาท ×)
6.นำ LNB มาสวมโดยให้เลข 0 ชี้ลงด้านซ้ายมือ ประมาณ 7 นาฬิกา
7.ทำการปรับระดับความลึกของ LNB ประมาณ 38
8.นำสายสัญญาณต่อเข้ากับ LNB
9.ทำการเก็บสายและหมวกครอบ LNB
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEjclpJDqCZOs6yoo06sR0Gx01PrdjAeeKvYpSJ-wTY9hnAU3-Y9IGLOdsHKWYN7vscurWTJ8iq9RU88SXOr2fkHkFHD-MMWSMr32XF8Be2AhN6CygXa8W9JGbXs4gn-5pSfP7VYjYk5NWk/s200/6p.jpg)
การต่อใช้งานแบบต่าง ๆ
การต่อพ่วงจุดรับชมมากกว่า 2 จุด
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgYyVzf0skmshCMrGGCxiN3YWCdZcJWcXaV2GiOlQQN7wk_h2-6cVFMa_JSvw_1Bpw161ppNB_hL_Bcom1CPs8FxISALj75yFLllGeaA3EUWFrpRsnQ0KpQrvVTyt_0xo9VDg9Hhu8Orlo/s400/NewPicture008%25281%2529.jpg)
การต่อใช้งานมากกว่า 2 จุด เพื่อให้สามารถรับชมได้อย่างอิสระต้องใช้ LNB แบบ 2 ขั้วในการรับสัญญาณ จากนั้นน ามาต่อเข้า Multiswitch เพื่อแยกจุดรับชม (ในกรณีที่ใช้ Multiswitch ที่มี output มากกว่า 4 จุด แนะน าให้ใช้ Multiswitch แบบมีไฟเลี้ยง)
การต่อพ่วงจุดรับชมดาวเทียมหลายดวงแบบหลายจุดรับชม
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgYVrJmLvQZIlKiZZPB9XVcRo9p2z1t2cgJ85zYP-zl2F-qEQFvT2sHCN28OCQG2wpO63OTDWQZm2pGq5OSsrxdXU6yTxdmLXhMwRbniD5_76ibkEV36TMQHowRFSzWfG7Up8-7J2UnbsU/s400/payslip_20081029120845.gif)
การต่อพ่วงจุดรับชมดาวเทียมหลายดวงแบบหลายจุดรับชม ในการร่วมสัญญาณ สามารถใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า Multiswicth cascade ในการใช้งานจะเหมือนการเอา Switch 22 KHz + DiSEqC รวมเข้าด้วยกัน
การทำงานอุปกรณ์Multiswitch 4 x 4
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEjXwtTB7YHSxkKX1U9ank4cQWEox9SMEtk82qNfDKbDba3a_7xvNEg8eVyx1VbpgYf72qi4CCRPrlo8w_IzwwLoN37pt8lLBEcz705jDsvlSss4IWYl6UZ8s3JQjz-RXry9YD2yBjFbHJA/s200/bmm442.jpg)
Multiswitch เป็ นอุปกรณ์ที่ท าหน้าเลือกรับสัญญาณจากดาวเทียม 2 ดวงโดยการ ท างานของอุปกรณ์ชนิดนี้จะใช้สัญญาณ 22 KHz จากเครื่องรับสัญญาณเป็ นตัว สั่งงานว่าจะรับสัญญาณจาก Port ใช้งาน 22 KHz หรือ 0 Hz
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น